วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

 เซิ้งตังหวาย 



ประวัติความเป็นมา
เป็นการรำเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในพิธีขอขมาของชาวจังหวัดอุบลราชธานี ภายหลังนิยมแสดงในงานนักขัตฤษ์และต้อนรับแขกผู้มีเกียรติของภาคอีสาน ครูนาฏศิลป์พื้นเมือง วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 
กรมศิลปากร ได้ประยุกต์และจัดกระบวนรำขึ้นใหม่ รวม 12 ท่า จากท่ารำแม่บทอีสาน

การแต่งกาย ห่มผ้ายมีดอก นุ่งซิ่นฝ้ายมัดหมี่มีเชิง เกล้าผมสูง

เครื่องดนตรี พื้นเมืองที่ใช้บรรเลงประกอบ คือ โปงลาง แคน พิณ ซอ กั๊บแก๊บ ฉิ่ง และฉาบ

ท่ารำดังนี้


เซิ้งตังหวาย เป็นการรำเพลงเร็วเน้นสนุกสนานแต่แฝงไปด้วยท่าทางที่อ่อนช้อยมีท่าอยู่12 
ท่าด้วยกันท่าไม่ยากนักคนที่มีพื้นฐานสามารถนำ เซิ้งตังหวายไปทำโชว์ได้เลย



ที่มา  http://chitasamta.blogspot.com/2014/12/blog-post_72.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ฟ้อนหมากกั๊บแก้บ - ลำ หมากกั๊บแก้บ(กรับ)   เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะของภาคอีสาน มีด้วยกัน 2 ประเภท คือ 1. กั๊บแก้บไม้สั้น เป็นไ...